1. ความรอบรู้ในเนื้อหาวิชาที่สอนของครู
1.1. ความรู้ในเนื้อหา
1.1.1. ขอบเขต
1.1.2. เรียงลำดับ
1.2. ความรู้เกี่ยวกับวิชาครูโดยทั่วไป
1.2.1. การจัดการชั้นเรียน
1.2.2. การดำเนินการถ่ายทอดเนื้อหาวิชา
1.3. ความรู้เกี่ยวกับหลักสูตร
1.3.1. เป้าหมาย หลักการ เนื้อหา
1.4. ความรู้เกี่ยวกับผู้เรียน
1.4.1. วิธีการเรียนรู้ ระดับพัฒนาการของผู้เรียน
1.5. ความรู้เกี่ยวกับบริบททางการศึกษา
1.5.1. ความเป็นพลวัตของกลุ่มในชั้นเรียน การบริหาร การเงิน ลักษณะชุมชน
1.6. ความรู้เกี่ยวกับความมุ่งหมายของการศึกษา
1.7. ความรู้เกี่ยวกับศาสตร์การสอน
1.7.1. แนวคิดทฤษฎีในการจัดการเรียนการสอน
1.7.2. วิธีการสอน
1.7.3. เทคนิคการสอน
1.8. บทบาทของครูกับการเรียนรู้ที่นักเรียนเป็นศูนย์กลาง
1.8.1. เป็นผู้จัดการ
1.8.2. เป็นผู้ร่วมทำกิจกรรม
1.8.3. เป็นผู้ช่วยเหลือทางแหล่งวิทยากร
1.8.4. เป็นผู้สนับสนุนและเสริมแรง
1.8.5. เป็นผู้ติดตามตรวจสอบ
1.9. การจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
1.9.1. 3R
1.9.1.1. Reading
1.9.1.2. Writing
1.9.1.3. Arithmetic
1.9.2. 7C
1.9.2.1. Critical thinking and problem solving
1.9.2.2. Creativity and innovation
1.9.2.3. Cross-culture understanding
1.9.2.4. Collaboration teamwork and leadership
1.9.2.5. Communication information and media literacy
1.9.2.6. Computing and ICT literacy
1.9.2.7. Career and learning skills
2. การปฏิสัมพันธ์ระหว่างครูกับผู้เรียน
2.1. ส่งเสริมพัฒนาศักยภาพผู้เรียน
2.2. รูปแบบ
2.2.1. ครูกับนักเรียน
2.2.2. นักเรียนกับนักเรียน
2.2.3. ทางวาจา
2.3. เทคนิค
2.3.1. การระดมสมอง
2.3.2. คิด จับคู่ และแบ่งปัน
2.3.3. Buzz session
2.3.4. Incident process
2.3.5. ช่วงถาม ตอบ
3. สภาพงานครู
3.1. ภาระงานครู
3.1.1. ด้านวิชาการ
3.1.2. ด้านงบประมาณ
3.1.3. ด้านบุคคล
3.1.4. ด้านการบริหารทั่วไป
4. การจัดการความรู้เกี่ยวกับวิชาชีพครู
4.1. ความหมาย
4.1.1. การรวบรวม สร้าง จัดระเบียบ แลกเปลี่ยนและประยุกต์ใช้ความรู้ในองค์กร
4.2. หลักการ
4.2.1. ครูช่วยกันทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงความรู้ให้มากที่สุด
4.2.2. ผอ.จัดให้ครูที่มีทักษะถ่ายทอดความรู้สู่เพื่อนครูคนอื่นๆ
4.2.2.1. ใช้ KM Tools
5. พ.ร.บ.ข้าราชการครู พ.ศ.2547
5.1. 9 หมวด
5.1.1. 1.คณะกรรมการบริหารงานบุคคลของข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา
5.1.2. 2.บททั่วไป
5.1.3. 3.การกำหนดตำแหน่งวิทยฐานะและการได้รับเงินเดือน เงินวิทยฐานะและเงินประจำตำแหน่ง
5.1.4. 4.การบรรจุและการแต่งตั้ง
5.1.5. 5.การเสริมสร้างประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ
5.1.6. 6.วินัยและการรักษาวินัย
5.1.7. 7.การดำเนินการทางวินัย
5.1.8. 8.การออกจากราชการ
5.1.9. 9.การอุทธรณ์และการร้องทุกข์
6. มาตรฐานวิชาชีพครู ฐานสมรรถนะ และจรรยาบรรณวิชาชีพครู
6.1. มาตรฐานความรู้และประสบการณ์วิชาชีพ
6.2. มาตรฐานการปฏิบัติงาน
6.3. มาตรฐานการปฏิบัติตน
6.3.1. จรรยาบรรณวิชาชีพ
7. คุณธรรมความเป็นครู หลักธรรมาภิบาล และความซื่อสัตย์สุจริต
7.1. หลักธรรมาภิบาล
7.1.1. ใช้เพื่อเป็นกลไกควบคุมกระบวนการที่ส่งผลต่อการปฏิบัติงานขององค์กร
7.1.2. ในภาคราชการ
7.1.2.1. นิติกรรม
7.1.2.2. คุณธรรม
7.1.2.3. ความโปร่งใส
7.1.2.4. การมีส่วนร่วม
7.1.2.5. ความรับผิดชอบ
7.1.2.6. ความคุ้มค่า
7.2. ความซื่อสัตย์สุจริต
7.3. คุณธรรม
7.3.1. แนวความคิดที่ดีเป็นตัวบังคับให้ประพฤติ
7.4. จริยธรรม
7.4.1. แนวทางของการประพฤติ
7.5. ศีลธรรม
7.5.1. กรอบปฏิบัติที่ดี
8. จิตวิญญาณความเป็นครู การเป็นแบบอย่าง การมีจิตสำนึกที่ดี
8.1. จิตวิญญาณความเป็นครู
8.1.1. ความหมาย
8.1.1.1. จิตสำนึกตามกรอบคุณธรรมจริยธรรมซึ่งทำให้เกิดการใฝ่รู้ ค้นหา สร้างสรรค์ ถ่ายทอด ปลูกฝังและเป็นแบบอย่างที่ดีทั้งของศิษย์ เพื่อนร่วมงาน และคนในสังคม
8.1.2. ลักษณะครูที่มีจิตวิญญาณความเป็นครู
8.1.2.1. มีคุณธรรมจริยธรรม
8.1.2.2. ตระหนักรู้และปฏิบัติตนบนวิถีความเป็นครู
8.1.2.3. รักและศรัทธาในวิชาชีพ
8.1.2.4. เชี่ยวชาญในการสอน
8.1.2.5. พัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง
8.2. การเป็นแบบอย่าง
8.2.1. องค์ประกอบ
8.2.1.1. มีความเชี่ยวชาญด้านการเรียนการสอนและหลักสูตร
8.2.1.2. ให้บริการและสนับสนุนทรัพยากรการเรียนการสอน
8.2.1.3. อำนวยความสะดวกในการเรียนรู้ของนักเรียน
8.2.1.4. เป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลงมาสู่โรงเรียน
8.3. การสีจิตสำนึกที่ดี
8.3.1. องค์ประกอบ
8.3.1.1. ทุ่มเทและอุทิศตัว
8.3.1.2. ให้ความเคารพความแตกต่างระหว่างบุคคล
8.3.1.3. คำนึงผลประโยชน์ส่วนตัวและส่วนรวม
8.3.1.4. ลงมือปฏิบัติ
9. VUCA World & Disruptive
9.1. VUCA
9.1.1. Volatility
9.1.2. Uncertainty
9.1.3. Complexity
9.1.4. Ambiguity
9.2. Disruptive
9.2.1. การเปลี่ยนแปลงรูปแบบใหม่และก้าวเข้าสู่ยุคDigital
9.2.2. วิธีการรับมือ
10. ความเป็นครูและคุณลักษณะพื้นฐานของความเป็นครูในยุคสมัยใหม่
10.1. ความหมาย
10.1.1. ครู หมายถึง บุคลากรวิชาชีพซึ่งทำหน้าที่หลักทรงด้านการเรียนการสอนและการส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียนด้วยวิธีต่างๆ ในสถานศึกษาทั้งรัฐและเอกชน
10.2. บทบาทของครูตาม TEACHERS MODEL
10.3. คุณลักษณะของครูที่ดี
10.3.1. องค์คุณกัลยามิตรธรรม 7
10.3.2. รูปลักษณ์
10.3.2.1. P-A-C-I-F-I-C
10.3.3. กิจลักษณ์
10.3.3.1. Physical
10.3.3.2. Moral
10.3.3.3. Mental
10.3.3.4. Intellectual
10.4. ครูในยุคศตวรรษที่ 21
10.4.1. E-Teacher