1. การวินิจฉัย
1.1. ตามตำรา
1.1.1. การซักประวัติ
1.1.1.1. ประวัติอาการผิดปกติ โรคประจำตัว การใช้ยา
1.1.2. การตรวจร่างกาย
1.1.2.1. การตรวจร่างกายทั่วไป
1.1.2.2. การประเมินอาการทางระบบประสาท (Neuro signs) และการประเมินสัญญาณชีพ (Vital signs)
1.1.3. การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
1.1.3.1. Complete Blood Count: CBC
1.1.3.2. Blood Urine Nitrogen: BUN
1.1.3.3. Creatinine: Cr
1.1.3.4. Prothrombin Time, Partial Thromboplastin Time, International Normalized Ratio: PT - PTT - INR
1.1.3.5. Electrolyte
1.1.4. การตรวจพิเศษ
1.1.4.1. CT scan for brain
1.1.4.2. MRI scan
1.2. ผู้ป่วย
1.2.1. การซักประวัติ
1.2.1.1. ไม่พูด แขนขาข้างขวาอ่อนเเรง 4 ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาล มีอาเจียน 4 - 5 ครั้ง
1.2.1.2. มีประวัติเป็น HT + DLP มา 4 - 5 ปี รักษาไม่ต่อเนื่องที่ รพ.เดิมบางนางบวช
1.2.2. การตรวจร่างกาย
1.2.2.1. การตรวจร่างกายทั่วไป
1.2.2.1.1. ไม่พบความผิดปกติ
1.2.2.2. การประเมิน Neuro signs
1.2.2.2.1. Glasgow Coma Score = E3V3M5, Glasgow Coma Scale = 11 คะแนน, Pupil 2 mm Rt. = Lt. RTL both eye, Motor power = แขนขาข้างซ้าย gr.5, แบขข้างขวา gr.2 และขาข้างขวา gr.1
1.2.2.3. การประเมิน Vital signs
1.2.2.3.1. T = 37.7 ํC, HR = 78 bpm, RR = 24 bpm, BP = 197/116 mmHg, MAP = 147 mmHg และ Oxygen Saturation = 99%
1.2.3. การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
1.2.3.1. Complete Blood Count: CBC
1.2.3.1.1. Hb = 12.2 g/dL
1.2.3.1.2. Hct = 37%
1.2.3.2. Blood Urine Nitrogen: BUN
1.2.3.2.1. BUN = 23 mg%
1.2.3.3. Creatinine: Cr
1.2.3.3.1. Cr = 2.03 mg%
1.2.3.4. EGFR (EKD - EPI)
1.2.3.4.1. EGFR = 37.6 ml/min/1.73 m2
1.2.3.5. Fasting Blood Sugar: FBS
1.2.3.5.1. FBS = 156 mg/dL
1.2.3.6. Electrolyte
1.2.3.6.1. K+ = 3.42 mmol/L (ปัจจุบัน K+ = 4.3 mmol/L)
1.2.3.7. Lipid Profile
1.2.3.7.1. ไม่พบความผิดปกติ
1.2.4. การตรวจพิเศษ
1.2.4.1. CT scan brain non - contrast
1.2.4.1.1. Acute intraparenchymal hemorrhage at left thalamus size 3.0 * 2.8 * 3.0 cm with blood spillage to ventricular system and surrounding brain enema
1.2.4.1.2. Mild hydrocephalus
1.2.4.1.3. No mid line shift or brain herniation
1.2.4.2. EKG
1.2.4.2.1. Mild left axis deviation codominant + Abnormal left axis deviation
1.2.4.2.2. Sinus rhythm
1.2.4.2.3. Voltage criteria for LVH (Left Ventricle Hypertrophy)
2. การรักษา
2.1. ตามตำรา
2.1.1. การรักษาแบบไม่ผ่าตัด
2.1.1.1. การเจาะหลัง ( Lumbar Puncture) มักใช้เป็นการรักษาเริ่มต้น ควรพิจารณาทำภายหลังจากการพบว่ามี Ventricular dilatation เพิ่มมากขึ้น โดยก่อนการทำนั้นควรจะต้องทำการ Ultrasound เพื่อหาว่ามีข้อห้ามของการเจาะหลัง เช่น มีก้อนเลือดหรือเนื้องอกในสมองหรือไม่ เป็นต้น
2.1.1.2. การรักษาโดยการให้ยานั้น (Acetazolamide, Furosemide) ไม่เป็นที่แนะนำในปัจจุบัน เนื่องจากอาจเพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิด Nephrocalcinosis
2.1.2. การผ่าตัดใส่อุปกรณ์ระบายน้ำเลี้ยงสมองแบบชั่วคราว
2.1.2.1. ถ้าหากในรายที่ทำการเจาะหลังแล้วยังมีอาการและอาการแสดงของภาวะ Hydrocephalus อยู่อาจะต้องพิจารณาใส่อุปกรณ์ระบายแบบชั่วคราว มีหลายวิธี เช่น ventricular access device, ventriculosubgaleal shunt, external ventricular drainage โดยพิจารณาทำในรายที่การรักษาโดยการเจาะหลัง แล้วไม่สามารถลดอาการของ hydrocephalus ได้
2.1.3. การใส่อุปกรณ์ระบายน้ำเลี้ยงสมองแบบถาวร
2.2. ผู้ป่วย
2.2.1. การรักษาแบบประคับประคอง
2.2.1.1. ยา
2.2.1.1.1. Dilantin 50 mg 2 tab. oral t.i.d. pc / Dilatin 100 mg vein q 8 hr
2.2.1.1.2. Manidipine 20 mg 1 tab. oral OD pc เช้า
2.2.1.1.3. Gemtibrozil 300 mg 1 tab. oral OD ac เช้า
2.2.1.1.4. Losartan 100 mg 1/2 tab. oral OD pc เช้า
2.2.1.1.5. Nicardipine (1:5) vein 15 ml/hr titrate
2.2.1.2. สารน้ำ
2.2.1.2.1. 0.9% NSS 1,000 ml vein rate 40 ml/hr
3. การพยาบาล
3.1. มีโอกาส / เสี่ยงต่อการเกิดภาวะความดันในกะโหลกศีรษะสูง (IICP) เนื่องจากมีภาวะเลือดออกในโพรงสมอง จากเส้นเลือดในสมองแตก
3.2. มีโอกาส / เสี่ยงต่อการเกิดภาวะพร่องออกซิเจน เนื่องจากการกำซาบออกซิเจนของเนื้อสมองลดลง จากการมีเลือดออกในโพรงสมอง
3.3. พร่องกิจวัตรประจำวัน เนื่องจากมีกล้ามเนื้อแขนขาอ่อนแรง
3.4. มีโอกาสเกิดการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ เนื่องจากทางเดินปัสสาวะเปลี่ยนแปลง หรือมีโอกาสเกิดการติดเชื้อ CAUTI
3.5. มีโอกาสเกิด / เสี่ยงต่อการเกิดแผลกดทับและข้อยึดติด เนื่องจากเคลื่อนไหวร่างกายได้น้อย จากกล้ามเนื้อแขนขาอ่อนแรง
4. สาเหตุ
4.1. ตามตำรา
4.1.1. ภาวะเลือดออกในโพรงสมอง: ภาวะที่มีเลือดในกะโหลกศีรษะ ในเนื้อสมองส่วนที่เป็นโพรงสมอง (Ventricle)
4.1.2. อาจเกิดจากเลือดออกโดยตรงในโพรงสมองหรือเลือดออกในโพรงสมองปฐมภูมิ (Primary IVH)
4.1.3. อาจเกิดจากเลือดออกภายในเนื้อสมองก่อน แล้วแตกทะลุเข้าสู่โพรงสมอง เลือดออกในโพรงสมองทุตยภูมิ (Second IVH)
4.1.4. ส่งผลให้การไหลเวียน CSF อุดกั้น เกิด ICP (Increased Intracranial Pressure)
4.2. ผู้ป่วย
4.2.1. เกิดจากการแตกของหลอดเลือดในสมองก่อน
4.2.2. เลือดออกในสมองจากโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมได้ไม่ดี
4.2.3. เลือดออกใต้เยื่อหุ้มสมองชั้นกลางแล้วไหลเข้าสู่โพรงสมอง
4.2.4. เป็นผลต่อเนื่องจาก Thalamic hemorrhage: เกิดจากความดันโลหิตสูง อาจแตกเข้า Ventricle ทำให้เกิด Hydrocephalus ได้ โดยจากผล CT scan พบ Mild hydrocephalus
5. อาการและอาการแสดง
5.1. ตามตำรา
5.1.1. คลื่นไส้ / อาเจียนอย่างรุนแรง
5.1.2. กลืนลำบาก รับรสชาติผิดแปลกจากปกติ
5.1.3. แขนหรือขาอ่อนแรงเฉียบพลัน
5.1.4. หมดสติ ไม่รู้สึกตัว ไม่ตอบสนอง ตื่นตัวลดลง ซึมลง
5.1.5. ตาพร่ามัว การตอบสนองของ Pupils ไม่เท่ากัน / ช้า
5.1.6. พูดคุย / สื่อสารไม่รู้เรื่อง
5.1.7. เวียนศีรษะ ความดันโลหิตสูง ปวดคล้ายเข็มทิ่ม
5.2. ผู้ป่วย
5.2.1. ไม่พูด แขนขาข้างขวาอ่อนแรง (เฉียบพลัน) 4 ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาล
5.2.2. อาเจียน ลักษณะเป็นเศษอาหาร 4 - 5 ครั้ง