1. ปฎิกิริยาไฟฟ้าเคมี
1.1. เคมี-ไฟฟ้า
1.1.1. เซลล์กัลวานิก
1.1.2. ปฎิกิริยาที่มีการถ่ายโอนอิเล็กตรอน เกิดกระแสไฟ้ฟ้านำไปใช้ได้
1.1.3. ถ่านไฟฉาย แบตเตอรี่
1.2. ไฟฟ้า-เคมี
1.2.1. เซลล์อิเล็กโตไลต์
1.2.2. ปฎิกิริยาที่มีการผ่านกระแสไฟฟ้าเข้าไปในสารละลายเพื่อทำให้เกิดปฎิกิรยาเคมี
1.2.3. การแยกน้ำด้วยไฟ้า ชุบโลหะ
2. เลขออกซิเดชัน
2.1. ตัวแสดงเลขค่าประจุไฟฟ้าของธาตุ ซึ่งอาจจะเป็นธาตุเดี่ยว หรืออยู๋ในรูปสารประกอบก็ได้
2.2. ผลรวมเลขออกซิเดชันของธาตุในสารประกอบ มีค่าเท่ากับ 0
2.3. ผลรวมเลขออกซิเดชันของธาตุ หรือ ไอออนเชิงซ้อนในสารเชิงไอออน มีค่าเท่ากับ ไอออนของสารนั้น
3. ปฎิกิริยารีดอกซ์
3.1. ปฎิกิริยาที่มีการถ่ายโอนอิเล็กตรอน จากสารหนึ่งไปยังอีกสารหนึ่ง โดยสารทั้งสองไม่ต้องสัมผัสกันก็ได้
3.2. สารทีเ่กิดปฎิกริยารีดอกซ์จะมีเลขออกซิเดชันของธาตุเปลี่ยนไป
3.3. การถ่ายโอนอเิล็กตรอน
3.3.1. Oxidation , Reduction
3.3.1.1. Oxidation
3.3.1.1.1. เสีย e-
3.3.1.1.2. มีเลขออกซิเดชันเพิ่มขึ้น
3.3.1.1.3. เป็น ตัวรีดิวซ์
3.3.1.1.4. ถูกออกซิไดซ์
3.3.1.1.5. ปฎิกิริยา X -----------> X+ + e-
3.3.1.2. Reduction
3.3.1.2.1. รับe-
3.3.1.2.2. มีเลขออกซิเดชันลดลง
3.3.1.2.3. เป็น ตัวออกซิไดส์
3.3.1.2.4. ถูกรีดิวซ์
3.3.1.2.5. ปฎิกิริยา Y+ + e- ---------> Y
3.3.2. ปฎิกิริยา
3.4. ปฎิกิริยารีดอกซ์ จะต้องมี การเพิมหรือลดของเลขออกซิเดชัน
4. ปฎิกิริยาออโตรีดอกซ์
4.1. ปฎิกิริยาที่สารตัวเดียวกันเกิดทั้งปฎิกิริยาออกซิเดชันและรีดักชัน
4.2. 2 KOH + Cl2 = KCl + KClO + H2O
4.2.1. Cl เป็นทั้งตัวให้และรับอิเล็กตรอน
5. การดุลสมการรีดอกซ์
5.1. การดุลโดยอาศัยเลขออกซิเดชั่น
5.1.1. อาศัยเลขออกซิเดชัน
5.2. การดุลโดยอาศัยปฎิกิริยาครึ่งเซลล์
5.2.1. 1.แยกเป็น2ครึ่งเซลล์
5.2.2. 2.ดุลธาตุที่ไม่ใ่ช่ O และ H ในแต่ละเซลล์ให้เท่ากัน
5.2.3. 3.เติม H2O ในด้านที่ขาด O , เติม H+ ในด้านที่ขาด H (ตามลำดับนะ)
5.2.4. 4.เติม e- ในด้านที่ขาดประจุลบ (ดูแต่ประจุไม่ดูเลขออกซิเดชัน)
5.2.5. 5. ทำ e- ทั้งสองครึ่งเซลล์ให้เท่ากัน โดยการคูณด้วยตัวเลข แล้วนำครึ่งเซลล์ฺทั้งสองมารวมสมการกัน
5.2.6. 6.ถ้าปฎิกิริยาเกิดในเบส ให้กำจัด H+ โดยการเติม OH- และใช้หลักการแตกตัวของน้ำ