Art Appreciation

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
Art Appreciation by Mind Map: Art Appreciation

1. บทที่ 6 ศิลปกรรมมรดกทางวัฒนธรรมของชาติ

1.1. -ศิลปไทยในสมัยโบราณเป็นศิลปแบบอุดมคติ -ความวามในอุดมคติของสตรี ใบหน้ากลมกลึงดังดวงจันทร์หรือรูปไข่ มีดวงตาดังเนื้อทราย มีจมูกดังปากนกแก้ว มีแขนอ่อนระทวยดังงวนช้าง

1.2. ศิลปในไทยแบ่งออกเป็น 8 สมัย

1.2.1. ทวาราวดี

1.2.1.1. อยู่ทางภาคกลางของประเทศไทย เช่น นครปฐม ราชบุรี กาญจนบุรี สุพรรณบุรี ลพบุรีและกาฬสินธ์ุ

1.2.1.2. ประติมากรรม

1.2.1.2.1. อิทธิผลจากศิลปอินเดีย 4 สมัย

1.2.1.2.2. รูปลักษณะของพระพุทธรูป

1.2.1.2.3. -ดินเผาใช้ตกแต่งอาคาร ต่อมาเป็นเปลี่ยนมาใช้ ปูนปั้น

1.2.1.3. สถาปัตยกรรม

1.2.1.3.1. ฐานเป็นรูปสี่เหลี่ยม องค์ระฆังเป็นรูปโอ่งค่ำ และมียอดแหละข้างบน

1.2.1.3.2. ฐานเป็นรูปสี่เหลี่ยม องค์ระฆังเป็นรูปบาตรคว่ำ และมียอดทำเป็นแผ่นวงกลมซ้อนกัน ยอดสุดมีลูกแก้ว

1.2.2. ศรีวิชัย

1.2.2.1. ภาคใต้

1.2.2.2. อิทธิผลจากศิลปอินเดีย 4 สมัย

1.2.2.2.1. หลังคุปตะ

1.2.2.2.2. ศิลปขอมแบบปาปวน หรือศิลปลพบุรี

1.2.2.2.3. ปาละเสนะ

1.2.2.3. พุทธศาสนาลัทธิมหายาน

1.2.2.3.1. พระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวร(ทำด้วยสัมฤทธิ์ และสลักด้วยศิลา พบที่อำเภอไชยา สุราษฎร์ธานี)

1.2.2.3.2. รูปเมตไตรยโพธิสัตว์

1.2.2.3.3. พระพิมพ์ดินดิบ

1.2.2.4. พระพิมพ์ดินดิบ

1.2.2.4.1. สร้างขึ้นเพื่อพระสงฆ์ที่มรณภาพหรือบุคคลที่เสียชีวิต โดยการนำอัฐิมาผสมกับดิน แล้วนำไปพิมพ์จากนั้นไม่ต้องเผาไฟ

1.2.2.5. สถาปัตยกรรม

1.2.2.5.1. เมืองไชยา

1.2.2.5.2. พระเจดีย์ วัดแก้ว

1.2.3. ลพบุรี

1.2.3.1. ภาคกลาง ภาคตะวันออก และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

1.2.3.2. ประติมากรรม

1.2.3.2.1. หล่อด้วยสัมฤทธิ์

1.2.3.2.2. สลักด้วยศิลา

1.2.3.2.3. พุทธศาสนาลัทธิมหายาน

1.2.3.2.4. ลักษณะพระพุทธรูป

1.2.3.3. สถาปัตยกรรม

1.2.3.3.1. หินทราย ศิลาแลง อิฐ

1.2.3.3.2. พุทธสถาน

1.2.3.3.3. เทวสถาน

1.2.3.3.4. ธรรมศาลา

1.2.4. เชียงแสน

1.2.4.1. ภาคเหนือ

1.2.4.2. ได่รับอิทธิผลจาก

1.2.4.2.1. ปาละ(อินเดีย)

1.2.4.2.2. เชียงใหม่

1.2.4.3. ประติมากรรม

1.2.4.3.1. พุทธรูปหินยาน

1.2.4.4. สถาปัตยกรรม

1.2.4.4.1. เป็นแบบเชียใหม่(เชียงแสนรุ่นหลัง)

1.2.4.4.2. สถูปหรือเจดย์ฐานสูง

1.2.4.4.3. เจดีย์พระธาตุดอยสุเทพ เชียงใหม่

1.2.4.4.4. พระธาตุลำปางหลวง ลำปาง

1.2.4.4.5. เจดีย์พระธาตุหริภูญไชย ลำพูน

1.2.4.4.6. เจดีย์วัดเจ็ดยอด(แปลกกว่าเพราะสร้างเลียนแบบพุทธคยาในประเทศอินเดีย)

1.2.5. สุโขทัย

1.2.5.1. เป็นยุคทองของศิลปไทย

1.2.5.2. ประติมากรรม

1.2.5.2.1. หมวดใหญ่(ทั่วไป)

1.2.5.2.2. หมวดพุทธชินราช

1.2.5.2.3. หมวดกำแพงเพชร

1.2.5.2.4. หมวดเบ็ดเตล็ด

1.2.5.2.5. ชอบสร้างเป็น พระพุทธศากยโคดม

1.2.5.2.6. ลักศณะของเศียรพระพุทธรูปที่งามที่สุด

1.2.5.2.7. พระพุทธรูปที่สลักด้วยศิลา

1.2.5.2.8. ปูนปั้นใช้ประกดับตกแต่งอาคาร

1.2.5.2.9. พระพุทธบาท

1.2.5.2.10. เครืื่องปั้นดินเผา

1.2.5.3. สถาปัตยกรรม

1.2.5.3.1. เจดีย์หรือสถูป

1.2.5.3.2. อาคารทางศาสนา

1.2.5.4. จิตรกรรม

1.2.5.4.1. ภาพเขียนผนัง

1.2.6. อู่ทอง

1.2.6.1. ประติมากรรม

1.2.6.1.1. มีไรพระศก(สุโขทัย)

1.2.6.1.2. สังฆาฏิยาวตัดเป็นเส้นตรง

1.2.6.1.3. นั่งขัดสมาธิราบ

1.2.6.1.4. ปางมารวิชัย

1.2.6.1.5. ฐานหน้ากระดานแอ่นเป็นร่องเข้าข้างใน(อู่ทอง)

1.2.6.1.6. มีรัศมีเป็นรูปบัวตูม(ทวาราวดี)

1.2.6.1.7. รัศมีเป็นเปลว(ขอม)

1.2.6.2. สถาปัตยกรรม

1.2.6.2.1. เจดีย์ทรงกลม

1.2.6.2.2. ศิลปสุโขทัยกับศรีวิชัยผสมกัน

1.2.6.2.3. พระมหาธาตุ ชัยนาท

1.2.6.2.4. วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ ลพบุรี

1.2.6.3. ศิลปทวาราวดีผสมกับขอม ตอนปลายมีศิลปสุโขทัยผสมด้วย

1.2.7. อยุธยา

1.2.7.1. เป็นการรวมศิลปสมัยต่างๆเข้าด้วยกัน ทวาราวดี ศรีวิชัย ลพบุรี อู่ทอง สุโขทัย

1.2.7.2. ประติมากรรม

1.2.7.2.1. ช่วงแรก เหมืือนอู่ทอง

1.2.7.2.2. หลังจากประกัมพูชาได้

1.2.7.2.3. ตอนปลาย

1.2.7.3. จิตรกรรม

1.2.7.3.1. ยุคแรก

1.2.7.3.2. สมัยตอนกลาง

1.2.7.3.3. สมัยตอนปลาย

1.2.7.4. สถาปัตยกรรม

1.2.7.4.1. สมัยพระเจ้าอู่ทอง

1.2.7.4.2. สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ

1.2.7.4.3. พระเจ้าปราสาททอง

1.2.7.4.4. สมเด็จพระบรมโกศ

1.2.8. ประณีตศิลป์

1.2.8.1. การจำหลักไม้ การเขียนลายรดน้ำและการประกับมุก

1.2.8.1.1. ลายจำหลัก

1.2.8.1.2. ลายรดน้ำ

1.2.8.2. เครื่องถ้วยชาม

1.2.8.2.1. ระบายสี

1.2.8.2.2. เขียนด้วยสีทอง

1.2.8.3. สมัยอยุธยาตอนปลายเป็นยุคที่เจริญที่สุด

1.2.9. รัตนโกสินทร์

1.2.9.1. ประติมากรรม

1.2.9.1.1. รัชกาลที่ 1,2,3

1.2.9.1.2. รัชกาลที่ 4

1.2.9.1.3. รัชกาลที่ 5 กับ 6

1.2.9.2. จิตรกรรม

1.2.9.2.1. ภาพเขียน หรือ จิตรกรรมฝาผนัง

1.2.9.3. สถาปัตยกรรม

1.2.9.3.1. รัชกาลที่ 1

1.2.9.3.2. รัชกาลที่ 2

1.2.9.3.3. รัชกาลที่ 3

1.2.9.3.4. รัชกาลที่ 4

1.2.9.3.5. รัชกาลที่ 5

2. บทที่ 7 ศิลปะประจักษ์พยานทางวัฒนธรรม