บทที่ 1 แผนที่ความคิด Mind Mapping

Find the right structure and content for your course and set up a syllabus

Get Started. It's Free
or sign up with your email address
บทที่ 1 แผนที่ความคิด Mind Mapping by Mind Map: บทที่ 1 แผนที่ความคิด Mind Mapping

1. การประยุกต์ใช้ Mind Mapping กับการวิเคราะห์ข่าว+สถานการณ์ปัจจุบัน

1.1. อ่านข่าวทั้งหมด เขียนแก่นแกน

1.2. แตกกิ่งแก้วเป็นหัวข้อ ตามหลัก 5W1H

1.3. แตกกิ่งก้อยเป็นรายละเอียดปลีกย่อย ตามหลัก 5W1H

1.4. แตกกิ่งแก้วเป็นหัวข้อความคิดเห็น ข้อเสนอแนะขากข่าว

1.5. แตกกิ่งแก้วเพื่อ วางแผนการทำข่าวต่อเนื่อง

2. ประโยชน์

2.1. จดบันทึก

2.2. การนำเสนอ

2.3. การเขียนอย่างสร้างสรรค์ การเขียนรายงาน

2.4. การพูด

3. ลักษณะสำคัญของแผนที่ความคิด 4 ประการ

3.1. หัวข้อเรื่องที่เป็นข้อใหญ่ "แก่นแกน" ตรงกลาง

3.2. ประเด็นสำคัญ ออกมาเป็น ก้านหรือกิ่งแก้ว แตกแขนงออกจาก "แก่นแกน"

3.3. กิ่งที่แตกแขนงออกมา แต่ละกื่ง รองรับคำหรือภาพ โดยมีเส้นเชื่อมเป็นลายละเอียด

3.4. กิ่งก้านต่างๆ ต้องเชื่อมยึดโยง ดุจกิ่งไม้หรือรากไม้

4. สรุปแผนที่ความคิด

4.1. เครื่องมือที่จะช่วยให้เราคิดและเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

4.2. ช่วยบันทึกความคิดให้เป็นภาพหลายหลายมุมมอง

4.3. ชัดเจนกว่าการบันทึกที่เป็นตัวอักษรที่ยังไม่ได้จัดระเบีบยความคิด

5. 5 W 1 H ได้แก่

5.1. WHO ใคร

5.2. WHAT ทำอะไร

5.3. WHEN เมื่อไหร่

5.4. WHERE ที่ไหน

5.5. WHY ทำไม

5.6. HOW อย่างไร

6. กฎของการเขียนแผนที่ความคิด

6.1. กระดาษ

6.2. กิ่งแก้ว

6.3. แก่นแกน

6.4. คำและเส้น

6.5. เน้น

6.6. เชื่อมโยง

6.7. แต่งแต้ม

7. แผนที่ทางความคิด

7.1. ช่วยจับประเด็น

7.2. รวบรวมความคิดเป็นหมวดหมู่้

8. การทำ Mind Mappind

8.1. อดีต

8.1.1. เขียนด้วยมือ

8.2. ปัจจุบัน

8.2.1. มีการใช้ซอฟแวร์ช่วย

9. Mind Map คือ

9.1. แปลตรงตัว คือ แผนที่ความคิด

9.2. เป็นทฤษฎีการนำสมองมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด กระบวนการเรียนรู้ ของมนุษย์

9.3. โทนี่ บูซาน ผู้คิดค้น นักจิตวิทยาชาวอังกฤษ ปี 2517

10. หลักสำคัญในการทำแผนที่ความคิด

10.1. อย่าเขียนประโยคยาว ๆ

10.2. เขียนด้วยปากกาหลาย ๆ สี

10.3. ให้ทุกคนได้แสดงความคิดเห็น