1. พฤติกรรมนิยม
1.1. การเรียนรู้
1.1.1. ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนอง
1.1.2. วัดและสังเกตจากภายนอกได้
1.1.3. เน้นความสำคัญของสิ่งแวดล้อม
1.1.4. วิจัยพฤติกรรมการเรียนรู้ของสัตว์ในห้องทดลอง
1.1.4.1. พาฟลอฟ
1.1.4.2. วัตสัน
1.1.4.3. สกินเนอร์
1.2. บทบาท
1.2.1. ครู
1.2.1.1. จัดการสิ่งเร้าที่จะให้ผู้เรียน
1.2.1.2. เสริมแรง
1.2.2. นักเรียน
1.2.2.1. รอรับความรู้
1.3. ลักษณะการออกแบบสื่อ
1.3.1. ระบุจุดประสงค์ให้ชัดเจน
1.3.2. สอนเเต่ละขั้นนำไปสู่การเรียบเเบบรอบรู้
1.3.3. ผู้เรียนเรียนตามอัตราการเรียนรู้ของตนเอง
1.3.4. สอนจากง่ายไปยาก
1.3.5. ออกเเบบการเรียนเป็นลำดับขั้นตอน
1.4. เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
1.4.1. มุ่งให้ผู้เรียนจดจำความรู้ในปริมาณที่มาก
1.4.2. ผู้เรียนรับข้อมูลส
1.4.3. ครูนำเสนอข้อมูล
2. MindMeister (171) น.ส.วราภรณ์ ภูคงน้ำ 57100189122 พลศึกษาและสุขศึกษา
3. พุทธิปัญญานิยม
3.1. นิยาม
3.1.1. การเปลี่ยนแปลงความรู้ของผู้เรียน
3.1.2. จัดรวบรวมความรู้ได้เป็นระบบ
3.1.3. ถ่ายโยงความรู้
3.2. การเรียนรู้
3.2.1. เกิดขึ้นเมื่อผู้เรียนสามารถวาง สารสนเทศใหม่ในความจำระยะยาว
3.2.2. ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจต์
3.2.3. มุ่งเน้นพฤติกรรมที่สังเกตได้เท่านั้น
3.2.4. ไม่สนใจกระบวนการคิด
3.2.5. ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสิ่ง เร้าภายนอกกับภายใน
3.2.6. ความจำ
3.3. เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
3.3.1. ออกแบบสื่อตามบทนิยาม
3.3.2. Mental Models
3.4. ลักษณะการออกแบบสื่อ
3.4.1. การสร้างโครงร่างของเนื้อหา
3.4.2. จัดความคิดรวบยอด
3.4.3. เชื่อมโยงสารสนเทศใหม่กับความรู้เดิม
3.4.4. ใช้เทคนิค
3.4.4.1. เน้นคำถาม
3.4.4.2. เน้นคำ/ข้อความ
3.4.4.3. Mnemonic
3.4.4.4. การสร้างภาพ
4. คอนสตรัคติวิสต์
4.1. การเรียนรู้
4.1.1. พยายามสร้างความเข้าใจ
4.1.2. โครงสร้างทางปัญญา
4.2. บทบาท
4.2.1. นักเรียน
4.2.1.1. สร้างความรู้
4.2.2. ครู
4.2.2.1. เเนะนำ
4.3. เเนวคิด
4.3.1. คอนสตรัคติวิสต์เชิงปัญญา
4.3.2. คอนสตรัคติวิสต์เชิงสังคม
4.4. เทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
4.4.1. ศึกษาการเรียนรู้ของมนุษย์ในสภาพจริง
4.4.2. ออกเเบบเพื่อสร้างความรู้
4.5. ลักษณะการออกแบบสื่อ
4.5.1. ส่งเสริมให้ผู้เรียนคิดรวบยอด
4.5.2. มุ่งเน้นการเรียนรู้
4.5.3. ประเมินตามสภาพจริง
4.5.4. เชื่อมโยงหลากหลาย
4.5.5. ฝึกหัดทางปัญญา