Começar. É Gratuito
ou inscrever-se com seu endereço de e-mail
Schizophenia por Mind Map: Schizophenia

1. การบำบัดรักษา

1.1. ECT

1.2. Biological Treatment

1.2.1. ยา

1.3. การบำบัดทางจิตสังคม (Psychosocial therapy)

1.3.1. นิเวศน์บำบัด (Miliue therapy)

1.3.2. จิตบำบัด (Psychotherapy)

1.3.2.1. group psychotherapy

1.3.2.2. individual psychotherapy

1.3.3. ครอบครัวบำบัด (Family therapy)

1.3.4. การบำบัดโดยการปรับความคิดและพฤติกรรม (Cognitive behavior therapy)

1.3.5. สัมพันธภาพพื่อการบำบัดระหว่างพยาบาลและผู้ป่วย (Nurse-Patient relationship)

2. ระยะการเจ็บป่วย

2.1. ระยะที่ 1 ระยะเฉียบพลัน (Acute phase)

2.1.1. เป้าหมายการรักษา

2.1.1.1. ลดอาการโรคจิตลง การดูแลความปลอดภัยและควบคุมอาการรุนแรง

2.1.2. การปฎิบัติการพยาบาล

2.1.2.1. ให้ยา(Antiphycotic drug)ตามแผนการรักษา และอธิบายผลของยาต่อการรักษาและผลข้างเคียง

2.1.2.1.1. การพยาบาลเพื่อลดผลข้างเคียงของยา

2.1.2.2. การพยาบาลสำหรับผู้ป่วยที่รักษาโดย Electroconvulsive therapy (ECT)

2.1.2.2.1. ก่อนทำ ECT ต้องอธิบายขั้นตอนแก่ผู้ป่วยและ NPO

2.1.2.2.2. ขณะทำ ECT ต้องประเมิน BP,HR และ support ข้อไหล่ ข้อมือ สะโพก และหัวเข่า ให้ oxygen mask with bag

2.1.2.2.3. หลังทำ ECT อาจมีอาการสับสน ควร re-orientation ให้ผู้ป่วย

2.1.2.3. จำกัดพฤติกรรม

2.1.2.3.1. จัดห้องแยก

2.1.2.3.2. ผูกมัด

2.1.2.4. ไม่ควรสัมผัสผู้ป่วยที่ยังควบคุมอาการตนเองไม่ได้

2.1.2.5. ประเมินผลอาการจิตเวทและผลของยา

2.1.2.6. สื่อสารตรงไปตรงมา พร้อมช่วยเหลือ

2.1.2.7. จัดสิ่งแวดล้อมให้ปลอดภัย ไม่ให้มีอุปกรณ์ที่สามารถใช้ทำร้ายตนเองหรือผู้อื่น

2.2. ระยะที่ 2 ระยะทำให้คงสภาพ (Stabilization phase)

2.2.1. เป้าหมายการรักษา

2.2.1.1. หลังจากอาการทุเลาลงบ้างแล้วจึงจำเป็นต้องให้ยาอย่างต่อเนื่องและควบคุมอาการต่อไป

2.2.2. การปฎิบัติการพยาบาล

2.2.2.1. พัฒนาทักษะทางสังคม การดูแลตนเอง การับผิดชอบในบทบาทหน้าที่ การมีเป้าหมายในชีวิตและการปรับปรุงตัว

2.2.2.2. ให้ความรู้และฝึกทักษะทางสังคมทั้งผู้ป่วยและผู้ดูแล

2.2.2.3. ให้ให้ความรู้เรื่องยาและผลข้างเคียง การดูแลควบคุมอาการตนเองและชี้ให้เห้นถึงอาการที่แสดงว่าอาการกำเริบ

2.2.2.4. เน้นให้ผู้ป่วยเข้าใจความเจ็บป่วยและให้ความร่วมมือในการรักษา

2.2.2.5. ให้การช่วยเหลือบำบัด

2.3. ระยะที่ 3 ระยะมีเสถียรหรือส่งเสริมสุขภาพ (Maintenance phase)

2.3.1. เป้าหมายการรักษา

2.3.1.1. เป็นช่วงที่อาการทุเลาลงแล้วจึงจำเป็นต้องให้ยาต่อไปเพื่อป้องกันไม่ให้กลับมามีอาการกำเริบ

2.3.2. การปฎิบัติการพยาบาล

2.3.2.1. ป้องกันอาการกำเริบและมุ่งให้ผู้ป่วยมีคุณภาพชีวิตที่ดี

2.3.2.2. การพัฒนาทักษะทางสังคม การดูแลตนเอง การรับผิดชอบในบทบาทหน้าที่การทำงาน การมีเป้าหมายที่เป็นไปได้ในชีวิต และปรับปรุงตัว

2.3.2.3. แนะนำและให้ความรู้อย่างต่อเนื่องทั้งผู้ป่วยและผู้ดูแล

2.3.3. 4วิธีที่จะช่วยให้ผู้ป่วยสามารถปรับปรุงเปลี่ยนแปลงชีวิต

2.3.3.1. 1. ส่งเสริมให้มีประสบการณ์ที่เอาชนะอุปสรรคได้

2.3.3.2. 2. การมีแบบอย่างในสังคม

2.3.3.3. 3. การโน้มน้าวให้ผู้ป่วยเชื่อมั่นในตนเอง

2.3.3.4. 4. การลดความเครียด สร้างความแข็งแรงทางร่างกาย และเรียนรู้ที่จะคิดบวก

3. สาเหตุ

3.1. ปัจจัยทางด้านชีวภาพ

3.1.1. พันธุกรรม

3.1.2. ระบบสารเคมีในสมอง

3.1.2.1. มีสารสื่อประสาท dopamine มากเกินไป และสารสื่อประสาท serotonin ลดลง

3.1.3. กายวิภาคของสมอง

3.1.3.1. มีปริมาณเนื้อสมองน้อยกว่าปกติ โดยเฉพาะส่วนของ cortisol gray matter และมี ventricle โตกว่าปกติ

3.1.4. ประสาทสรีรวิทยา

3.1.4.1. cerebral blood flow และ glucose metabolism ลดลงในสมองส่วนหน้า

3.2. ปัจจัยทางด้านครอบครัวและสังคม

3.2.1. สภาพสังคมบีบบังคับ

3.2.2. การเลี้ยงดู ความรุนแรงในครอบครัว

4. การวินิจฉัย

4.1. DSM-5

4.1.1. A. มีอาการต่อไปนี้อย่างน้อย 2 อาการในช่วง 1 เดือน และอาการอย่างน้อย 1 อย่างต้องเป็นอาการในข้อ 1, 2 หรือ 3

4.1.1.1. 1.Delusion

4.1.1.2. 2.Hallucination

4.1.1.3. 3. Disorganized speech

4.1.1.4. 4. Disorgaized behavior

4.1.2. 5. Negative symtom

4.1.3. B. มีปัญหาด้านสังคม การงาน สัมพันธภาพ หรือสุขอนามัย

4.1.4. D. ไม่มีอาการเข้าได้กับโรค schizoaffective disorder และกลุ่มโรคซึมเศร้า หรือ bipolar disorder ที่มีอาการจิตร่วมด้วย

4.1.5. E. อาการไม่ได้เป็นจากยาหรือสารเสพติด

4.1.6. C. มีอาการในข้อ A. ในข้อ 1 2 หรือ 3 อย่างน้อย 1 เดือน โดยมีอาการอย่างน้อย 2 อาการ ต่อเนื่องนานอย่างน้อย 6 เดือน

4.1.7. F. หากมีประวัติของโรค autism spectrum disorder หรือ communication disorder ที่เป็นในวัยเด็ก มีอาการหลงผิด/ประสาทหลอนเป็นอาการเด่นเพิ่มจากข้อ A. นานอย่างน้อย 1 เดือน

5. อาการและอาการแสดง

5.1. อาการทางคลินิก

5.1.1. Positive symptoms

5.1.1.1. Delusion

5.1.1.1.1. delusion of control

5.1.1.1.2. though withdrawal

5.1.1.1.3. though broadcasting

5.1.1.1.4. grandiose delusion

5.1.1.1.5. persecutory delusion

5.1.1.1.6. though insertion

5.1.1.1.7. somatic delusion

5.1.1.1.8. idea of reference

5.1.1.1.9. jealous delusion

5.1.1.1.10. bizarre delusion

5.1.1.2. Hallucination

5.1.1.2.1. auditory

5.1.1.2.2. visual

5.1.1.2.3. olfactory

5.1.1.2.4. gustatory

5.1.1.2.5. tactile

5.1.1.3. Disorganized thinking & speech

5.1.1.4. Disorgaized behavior

5.1.2. Negative symptoms

5.1.2.1. 1. อารมณ์เรียบเฉย (affective flattening)

5.1.2.2. 2.พูดน้อยหรือไม่พูด (aloga)

5.1.2.3. 3. ขาดความสนใจในกิจกรรม ขาดความกระตือรือร้น

5.1.2.4. 4. ขาดความสุข (anhedonia)

5.1.2.5. 5. ขาดความตั้งใจ (attention deficits)

6. การวินิจฉัยแยกโรค

6.1. โรคทางกายหรือยาและสารเสพติด

6.2. โรคอารมณ์ผิดปกติ

6.2.1. ก่อนจะมีอาการโรคจิตผู้ป่วยมีการเปลี่ยนแปลงด้านอารมณ์ให้เห็น

6.3. Delusional disorder

6.3.1. อาการจะเกิดขึ้นเร็ว ผู้ป่วยมีลักษณะเพ้อสับสน มีอาการขณะอายุมาก หรือตรวจพบความผิดปกติทางกายที่เกี่ยวข้องกับอาการโรคจิต

6.3.2. ไม่มีอาการหูแว่วเป็นเรื่องราวชัดเจน และผู้ป่วยจิตเวทจะมีบุคลิกและพฤติกรรมที่เสื่อมมากกว่า

6.3.3. Depressive disorder

6.4. Personality disorder

6.4.1. ผู้ป่วยกลุ่มนี้จะไม่มีอาการจิตเวทในระยะอาการกำเริบ

6.5. Bipolar and related disorders

7. Nursing management

7.1. Nursing process

7.1.1. 1. Assessment

7.1.1.1. การประเมินภาวะสุขภาพ 11 แบบแผน

7.1.2. 2. Diagnosis

7.1.2.1. การวินิจฉัยทางการพยาบาล

7.1.3. 3. Planing

7.1.3.1. การวางแผนการพยาบาล

7.1.3.2. การวางแผนจำหน่าย

7.1.3.2.1. ตามหลัก D-METHOD

7.1.4. 4. Intervention

7.1.4.1. ปฏิบัติการพยาบาลตามระยะการเจ็บป่วย

7.1.4.1.1. ระยะที่1 ระยะเฉียบพลัน

7.1.4.1.2. ระยะที่2 ระยะคงสภาพ

7.1.4.1.3. ระยะที่3 ระยะมีเสถียรหรือส่งเสริมสุขภาพ

7.1.5. 5. Evaluation

7.1.5.1. การประเมินสภาวะทางจิตของผู้ป่วยในปัจจุบันกับเป้าหมายที่วางไว้ในแผนการพยาบาล