1. วัตถุประสงค์
1.1. 1. ป้องกันไม่ให้เชื้อโรคเข้าสู่แผลทางผิวหนัง
1.1.1. บรรยายแบบมีส่วนร่วม
1.2. 2.ป้องกันไม่ให้แผลได้รับอันตรายเพิ่มขึ้น
1.3. ช่วยกระตุ้นให้แผลหายเร็วขึ้น
2. ชนิดของการทำแผล
2.1. 1. การทำแผลแบบแห้ง (dry dressing)
2.1.1. การทำแผลสะอาด แผลปิด แผลที่ไม่มีการ อักเสบเป็นแผลเล็ก ๆ ที่ไม่มีสิ่งขับหลั่งมาก
2.2. 2.การทำแผลแบบเปียก (wet dressing)
2.2.1. การทำแผลที่มีลักษณะเป็นแผลเปิด แผล อักเสบติดเชื้อ แผลที่มีสิ่งขับหลั่งมาก
3. รูปแบบการสอน
3.1. บรรยายแบบมีส่วนร่วม
4. ขั้นตอนการทำแผล
4.1. การทำแผลแบบแห้ง
4.1.1. 1.ใส่ถุงมือ
4.1.2. 2.ใช้มือหยิบผ้าปิดแผลเดิมออกโดยยึดหลักปราศจากเชื้อ
4.1.3. 3. เปิดชุดทำแผล
4.1.4. 4. ใช้ปากคีบมีเขี้ยวคีบสำลีชุบแอลกอฮอล์70% นำไปเช็ดขอบแผลและวนออกนอกแผล สำลีที่ใช้แล้วให้ทิ้งลงในภาชนะรองรับ
4.1.5. 5.ปิดแผลด้วยผ้าก๊อซและติดพลาสเตอร์ตามแนวขวางของลำตัว
4.2. การทำแผลแบบเปียก
4.2.1. 1. ใส่ถุงมือ
4.2.2. 2. เปิดแผลโดยยึดหลักปราศจากเชื้อ
4.2.3. 3. เปิดชุดทำแผล
4.2.4. 4. ใช้ปากคีบมีเขี้ยวคีบสำลีชุบแอลกอฮอล์70% นำไปเช็ดชิดขอบแผลและวนออกนอกแผลสำลีที่ใช้ทำความสะอาดแล้วให้ทิ้งลงในชามรูปไต
4.2.5. 5. ใช้มือสองข้างหยิบปากคีบข้างละหนึ่งอัน คีบผ้าก๊อซชุบ normal saline บิดพอหมาด เช็ดทำความ สะอาดภายในแผลจนแผลสะอาด
4.2.6. 6. ใช้ปากคีบหยิบผ้าก๊อซหนึ่งข้างชุบ normal saline และใช้มืออีกข้างหยิบปากคีบเพื่อบิดผ้าก๊อซที่ ชุบ normal saline นั้น ให้พอหมาด วางในแผล แล้วใช้ผ้าก๊อซวางทับ
4.2.7. 7. ปิดแผลด้วยผ้าก๊อซและติดพลาสเตอร์ตามแนวขวางของลำตัว